บทนำ   ความรู้เรื่องพระไตรปิฎก  เอกสารทางประวัติศาสตร์   ข้อความน่ารู้จากพระไตรปิฎก   พระวินัยปิฎก  

พระสุตตันตปิฎก   พระอภิธรรมปิฎก   พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม   ชาดก  คำค้นหาพระไตรปิฎก  ธรรมปฏิบัติ  



หมวดพระ
อภิธัมมปิฎก

พระอภิธัมมปิฎก
เล่ม ๔

 

รายละเอียด
กถาวัตถุ
...๒๑๙ ข้อ...

 

หน้าที่ ๑ ...ที่ ๑-๑๐ ...

หน้าที่ ๒ ...ที่ ๑๑-๒๐ ...

หน้าที่ ๓ ...ที่ ๒๑-๓๐ ...

หน้าที่ ๔ ...ที่ ๓๑-๔๐ ...

หน้าที่ ๕ ...ที่ ๔๑-๕๐ ...

หน้าที่ ๖ ...ที่ ๕๑-๖๐ ...

หน้าที่ ๗ ...ที่ ๖๑-๗๐ ...

หน้าที่ ๘ ...ที่ ๗๑-๘๐ ...

หน้าที่ ๙ ...ที่ ๘๑-๙๐ ...

หน้าที่ ๑๐ ...ที่ ๙๑-๑๐๐ ...

หน้าที่ ๑๑ ...ที่ ๑๐๑-๑๑๐ ...

หน้าที่ ๑๒ ...ที่ ๑๑๑-๑๒๐ ...

หน้าที่ ๑๓ ...ที่ ๑๒๑-๑๓๐ ...

หน้าที่ ๑๔ ...ที่ ๑๓๑-๑๔๐ ...

หน้าที่ ๑๕ ...ที่ ๑๔๑-๑๕๐ ...

หน้าที่ ๑๖ ...ที่ ๑๕๑-๑๖๐ ...

หน้าที่ ๑๗ ...ที่ ๑๖๑-๑๗๐ ...

หน้าที่ ๑๘ ...ที่ ๑๗๑-๑๘๐ ...

หน้าที่ ๑๙ ...ที่ ๑๘๑-๑๙๐ ...

หน้าที่ ๒๐ ...ที่ ๑๙๑-๒๐๐ ...

หน้าที่ ๒๑ ...ที่ ๒๐๑-๒๑๐ ...

หน้าที่ ๒๒ ...ที่ ๒๑๑-๒๑๙ ...

 

รายละเอียดกถาวัตถุ ๒๑๙ ข้อ

๑. เรื่องบุคคล (ปุคคลกถา ) ๑๒๑. เรื่องผู้จะไปเกิดอีก๒-๓ครั้งกับผู้เกิดเพียงครั้งเดียว
๒. เรื่องความเสื่อม (ปริหานิกถา) ๑๒๒. เรื่องการปลงชีวิต (ชีวิตา โวโรปนกถา)
๓. เรื่องพรหมจรรย์ (พรหมจริยกถา) ๑๒๓. เรื่องทุคคติ (ทุคคติกถา)
๔. เรื่องบางส่วน (โอธิโสกถา) ๑๒๔. เรื่องบุคคลที่เกิดในภพที่ ๗ (สัตตมภวิกกถา)
๕. เรื่องละกิเลส (ชหติกถา) ๑๒๕. เรื่องผู้ตั้งอยู่ตลอดกัปป์ (กัปปัฏฐกถา)
๖. เรื่องทุกอย่างมี (สัพพมัตถิกถา) ๑๒๖. เรื่องการได้กุศลจิต (กุสลจิตตปฏิลาภกถา)
๗. เรื่องขันธ์ที่เป็นอดีต เป็นต้น (อดีตขันธาติกถา) ๑๒๗. เรื่องผู้ประกอบด้วยกรรมอันให้ผลไม่มีระหว่างคั่น
๘. เรื่องบางอย่างมี (เอกัจจมัตถีติกถา) ๑๒๘. เรื่องทำนองธรรมของผู้แน่นอน (นิยตัสส นิยามกถา)
๙. เรื่องการตั้งสติ (สติปัฏฐานกถา) ๑๒๙. เรื่องผู้มีนีวรณ์ (นีวุตกถา)
๑๐. เรื่อง"มีอย่างนี้" เป็นต้น (เหวัตถิกถา) ๑๓๐. เรื่องผู้พร้อมหน้ากิเลส (สัมมุขีภูตกถา)
๑๑. เรื่องผู้อื่นนำเข้าไปให้ (ปรูปหารกถา) ๑๓๑. เรื่องผู้เข้าฌานย่อมพอใจ (สมาปันโน อัสสาเทติกถา)
๑๒. เรื่องความไม่รู้ (อัญญาณกถา) ๑๓๒. เรื่องความกำหนัดในสิ่งที่ไม่น่าพอใจ (อสาตราคกถา)
๑๓. เรื่องความสงสัย (กังขากถา) ๑๓๓. เรื่องความทะยานอยากในธรรมเป็นอัพยากฤต
๑๔. เรื่องการบอกของผู้อื่น (ปรวิตารณกถา) ๑๓๔. เรื่องธัมมตัณหามิใช่เหตุให้เกิดทุกข์
๑๕. เรื่องการเปล่งวาจา (วจีเภทกถา) ๑๓๕. เรื่องความต่อเนื่องแห่งกุศลและอกุศล (กุสลากุสลปฏิสันทหนกถา)
๑๖. เรื่องการนำมาซึ่งความรู้ในทุกข์ (ทุกขาหารกถา) ๑๓๖. เรื่องความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ ๖
๑๗. เรื่องความตั้งอยู่แห่งจิต (จิตตฐิติกถา) ๑๓๗. เรื่องปัจจัยที่ไม่มีระหว่างคั่น (อนันตรปัจจยกถา)
๑๘. เรื่องถ่านไฟร้อน (กุกกุฬกถา) ๑๓๘. เรื่องรูปของพระอริยะ (อริยรูปกถา)
๑๙. เรื่องการตรัสรู้โดยลำดับ (อนุปุพพาภิสมยกถา) ๑๓๙. เรื่องอนุสัยเป็นอย่างอื่น (อัญโญ อนุสโยติกถา)
๒๐. เรื่องโวหาร (โวหารกถา) ๑๔๐. เรื่องกิเลสเครื่องรึงรัดไม่ประกอบกับจิต
๒๑. เรื่องนิโรธความดับทุกข์ (นิโรธกถา) ๑๔๑. เรื่องสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกัน (ปริยาปันนกถา)
๒๒. เรื่องกำลัง (พลกถา) ๑๔๒. เรื่องอัพยากฤต (อัพยากตกถา)
๒๓. เรื่องญาณเป็นอริยะ (อริยันติกถา) ๑๔๓. เรื่องโลกุตตระ (อปริยาปันนกถา)
๒๔. เรื่องจิตหลุดพ้น (วิมุจจติกถา) ๑๔๔. เรื่องความเป็นปัจจัย (ปัจจยตากถา)
๒๕. เรื่องจิตกำลังหลุดพ้น (วิมุจจมานกถา) ๑๔๕. เรื่องปัจจัยของกันและกัน (อัญญมัญญปัจจยกถา)
๒๖. เรื่องบุคคลที่ ๘ (อัฏฐมกกถา) ๑๔๖. เรื่องกาลยืดยาว (อัทธากถา )
๒๗. เรื่องอินทรีย์ของบุคคลที่ ๘ (อัฏฐมกัสส อินทริยกถา) ๑๔๗. เรื่องขณะ, ประเดี๋ยว, ครู่ (ขณลยมุหุตตกถา)
๒๘. เรื่องตาทิพย์ (ทิพพจักขุกถา) ๑๔๘. เรื่องกิเลสที่ดองสันดาน (อาสวกถา)
๒๙. เรื่องหูทิพย์ (ทิพพโสตกถา) ๑๔๙. เรื่องความแก่และความตาย (ชรามรณกถา)
๓๐. เรื่องญาณรู้ถึงสัตว์ผูเกิดตามกรรม (ยถากัมมูปคตญาณกถา) ๑๕๐. เรื่องสัญญาและเวทนา (สัญญาเวทยิตกถา)
๓๑. เรื่องความสำรวม (สังวรกถา) ๑๕๑. เรื่องสัญญาและเวทนาเรื่องที่ ๒ (ทุติยสัญญาเวทยิตกถา)
๓๒. เรื่องไม่มีสัญญาคือความจำได้หมายรู้ (อสัญญกถา) ๑๕๒. เรื่องสัญญาและเวทนาเรื่องที่ ๓ (ตติยสัญญาเวทยิตกถา)
๓๓. เรื่องเนวสัญญานาสัญญายตะ (เนวสัญญานาสัญญายตกถา) ๑๕๓. เรื่องสมาบัติที่ให้เข้าถึงอสัญญสัตว์
๓๔. เรื่องพระอรหัตน์พึงเป็นคฤกัสถ์ได้ (คิหิสส อรหาติกถา) ๑๕๔. เรื่องการสะสมกรรม (กัมมูปจยกถา)
๓๕. เรื่องความเกิด (อุปปัตติกถา) ๑๕๕. เรื่องการข่ม (นิคคหกถา)
๓๖. ไม่มีอาสวะ (อนาสวกถา) ๑๕๖. เรื่องการประคอง (ปัคคหกถา)
๓๗. เรื่องพระอรหันต์ประกอบด้วยอะไรบ้าง (สมันนาคตกถา) ๑๕๗. เรื่องการเพิ่มให้ความสุข (สุขานุปปทานกถา)
๓๘. พระอรหันต์ประกอบด้วยอุเบกขา (อุเปกขาสมันนาคตกถา) ๑๕๘. เรื่องการรอบรวมพิจารณา (อธิคคัยหมนสิการกถา)
๓๙. เรื่องเป็นพระพุทธเจ้าเพราะโพธิ (โพธิยา พุทโธติกถา) ๑๕๙. เรื่องรูปเป็นเหตุ (รูปัง เหตูติกถา)
๔๐. เรื่องลักษณะ (ลักขณกถา) ๑๖๐. เรื่องรูปมีเหตุ (รูปัง สเหตุกันติกถา)
๔๑. เรื่องกำหนดลงมาเกิด (นิยาโมกกันติกถา) ๑๖๑. เรื่องรูปเป็นกุศลและอกุศล (รูปัง กุสลากุสลันติกถา)
๔๒. เรื่อง"ประกอบด้วยคุณธรรม" (อปราปิสมันนาคตกถา) ๑๖๒. เรื่องรูปเป็นผล (รูปัง วิปาโกติกถา)
๔๓. เรื่องการละสัญโญชน์ทั้งหมด (สัพพสัญโญชนปหานกถา) ๑๖๓. เรื่องรูปเป็นรูปาวจรและอรูปาวจร (รูปัง รูปาวจรารูปาวจรันติกถา)
๔๔. เรื่องหลุดพ้น (วิมุตตกถา) ๑๖๔. เรื่องรูปราคะเนื่องด้วยรูปธาตุ (รูปราโค รูปธาตุปริยาปันโนติกถา)
๔๕. เรื่องพระอเสกขะ คือผู้ไม่ต้องศึกษา (อเสกขกถา) ๑๖๕. เรื่องพระอรหันต์มีการสั่งสมบุญ (อัตถิ อรหโต ปุญญูปจโยติกถา)
๔๖. เรื่องวิปริต (วิปรีตกถา) ๑๖๖. เรื่องพระอรหันต์ไม่มีการตายเมื่อยังไม่ถึงคราว
๔๗. เรื่องทำนองธรรม (นิยามกถา) ๑๖๗. เรื่องทุกอย่างมาจากกรรม (สัพพมิทัง กัมมโตติกถา)
๔๘. เรื่องความแตกฉาน (ปฏิสัมภิทากถา) ๑๖๘. เรื่องสิ่งที่เนื่องด้วยอินทรีย์ (อินทริยพัทธกถา)
๔๙. เรื่องความรู้สมติ (สัมติญาณกถา) ๑๖๙. เรื่องเว้นแต่อริยมรรค (ฐเปตวา อริยมัคคันติกถา)
๕๐. เรื่องญาณมีจิตเป็นอารมณ์ (จิตตารัมมณกถา) ๑๗๐. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า สงฆ์รับทำทักษิณา
๕๑. เรื่องญาณรู้อนาคต (อนาคตญาณกถา) ๑๗๑. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า สงฆ์ทำทักษิณาให้บริสุทธิ์
๕๒. เรื่องญาณรู้ปัจจุบัน (ปัจจุปปันนญาณกถา) ๑๗๒. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า สงฆ์ฉัน ( อาหาร )
๕๓. เรื่องญาณรู้ผล (ผลญาณกถา) ๑๗๓. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า ทานที่ถวายแด่สงฆ์มีผลมาก
๕๔. เรื่องทำนองธรรม (นิยามกถา) ๑๗๔. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า ทานที่ถวายแด่พระพุทธเจ้ามีผลมาก
๕๕. เรื่องปฏิจจสมุปบาท (ปฏิจจสมุปปาทกถา) ๑๗๕. เรื่องความบริสุทธิ์แห่งทักษิณา (ทักขิณาวิสุทธิกถา)
๕๖. เรื่องความจริง (สัจจกถา) ๑๗๖. เรื่องมนุษย์โลก (มนุสสโลกกถา)
๕๗. เรื่องอรูป(สิ่งที่ไม่มีรูป) (อารุปปกถา) ๑๗๗. เรื่องพระธรรมเทศนา (ธัมมเทสนากถา)
๕๘. เรื่องนิโรธสมาบัติ (นิโรธสมาปัตติกถา) ๑๗๘. เรื่องกรุณา (กรุณากถา)
๕๙. เรื่องอากาศ (อากาสกถา) ๑๗๙. เรื่องของหอม (คันธชาติกถา)
๖๐. เรื่องอากาศเป็นของเห็นได้ (อากาโส สนิทัสสโนติกถา) ๑๘๐. เรื่องมรรคอันเดียว (เอกมัคคกถา)
๖๑. เรื่องธาตุดินเห็นได้ เป็นต้น (ปฐวีธาตุ สนิทัสสนาตยาทิกถา) ๑๘๑. เรื่องการก้าวข้ามฌาน (ฌานสังกันติกถา)
๖๒. เรื่องอินทรีย์ คือตาเห็นได้ (จักขุนทริยัง สนิทัสสนันติกถา) ๑๘๒. เรื่องช่องว่างของฌาน (ฌานันตริกากถา)
๖๓. เรื่องการกระทำทางกายเห็นได้ (กายกัมมัง สนิทัสสนันติกถา) ๑๘๓. เรื่องผู้เข้าฌานย่อมได้ยินเสียง (สมาปันโน สัททัง สุณาตีติกถา)
๖๔. เรื่องธรรมที่สงเคราะห์เข้ากันได้ (สังคหิตกถา) ๑๘๔. เรื่องเห็นรูปด้วยตา (จักขุนา รูปัง ปัสสตีติกถา)
๖๕. เรื่องธรรมที่ประกอบกัน (สัมปยุตตกถา) ๑๘๕. เรื่องการละกิเลส (กิเลสชหนกถา)
๖๖. เรื่องเจตสิก ธรรมที่เป็นไปทางจิต (เจตสิกกถา) ๑๘๖. เรื่องความสูญ (สุญญตากถา)
๖๗. เรื่องทาน (ทานกถา) ๑๘๗. เรื่องผลแห่งความเป็นสมณะ (สามัญญผลกถา)
๖๘. เรื่องบุญสำเร็จด้วยการใช้สอย (ปริโภคมยปุญญกถา) ๑๘๘. เรื่องการบรรลุ (ปัตติกถา)
๖๙. เรื่องสิ่งที่ให้ไปจากโลกนี้ (อิโต ทินนกถา) ๑๘๙. เรื่องความจริง (ตถตา )
๗๐. เรื่องแผ่นดินเป็นผลของกรรม (ปฐวี กัมมวิปาโกติกถา) ๑๙๐. เรื่องกุศล (กุสลกถา)
๗๑. เรื่องความแก่ความตายเป็นผล (ชรามรณัง กัมมวิปาโกติกถา) ๑๙๑. เรื่องข้อกำหนดเด็ดขาด (อัจจันตนิยามกถา)
๗๒. เรื่องผลของอริยธรรม (อริยธัมมวิปากกถา) ๑๙๒. เรื่องธรรมะที่เป็นใหญ่ (อินทริยกถา)
๗๓. เรื่องผลมีธรรมซึ่งเป็นผลธรรมดา (วิปากธัมมธัมโมติกถา) ๑๙๓. เรื่องไม่จงใจ (อสัญจิจจกถา)
๗๔. เรื่องคติ ๖ (ฉคติกถา) ๑๙๔. เรื่องญาณ (ญาณกถา)
๗๕. เรื่องภพที่คั่นในระหว่าง (อันตราภวกถา) ๑๙๕. เรื่องนายนิรยบาล (นิรยปาลกถา)
๗๖. เรื่องกามคุณ (กามคุณกถา) ๑๙๖. เรื่องสัตว์ดิรัจฉาน (ติรัจฉานกถา)
๗๗. เรื่องกาม (กามกถา) ๑๙๗. เรื่องมรรค (มัคคกถา)
๗๘. เรื่องธาตุเป็นรูป (รูปธาตุกถา) ๑๙๘. เรื่องญาณ (ญาณกถา)
๗๙. เรื่องธาตุที่เป็นอรูป (อรูปธาตุกถา) ๑๙๙. เรื่องคำสอน (สาสนกถา)
๘๐. เรื่องอายตนะของรูปธาตุ (รูปธาตุยา อายตนกถา) ๒๐๐. เรื่องผู้ไม่สงัด (อวิวิตตกถา)
๘๑. เรื่องรูปในอรูป (อรูเป รูปกถา) ๒๐๑. เรื่องกิเลสที่ผูกมัด (สัญโญชนกถา)
๘๒. เรื่องรูปเป็นการกระทำ (รูปัง กัมมันติกถา) ๒๐๒. เรื่องฤทธิ์ (อิทธิกถา)
๘๓. เรื่องชีวิตินทรีย์ (ชีวิตินทริยกถา) ๒๐๓. เรื่องพระพุทธเจ้า (พุทธกถา)
๘๔. เรื่องกรรมเป็นเหตุ (กัมมเหตุกถา) ๒๐๔. เรื่องทิศทั้งปวง (สัพพทิสากถา)
๘๕. เรื่องอานิสงส์ ๒๐๕. เรื่องธรรม (ธัมมกถา)
๘๖. เรื่องสัญโญชน์มีอมตะเป็นอารมณ์ ๒๐๖. เรื่องกรรม (กัมมกถา)
๘๗. เรื่องรูปมีอารมณ์ (รูปัง สารัมมณันติกถา) ๒๐๗. เรื่องปรินิพพาน
๘๘. เรื่องอนุสัยไม่มีอารมณ์ (อนารัมมณาติกถา) ๒๐๘. เรื่องกุศลจิต (กุสสจิตตกถา)
๘๙. เรื่องญาณไม่มีอารมณ์ (ญาณัง อนารัมมณันติกถา) ๒๐๙. เรื่องอาเนญชะ (อาเนญชกถา)
๙๐. เรื่องจิตที่มีอดีตเป็นอารมณ์ (อตีตารัมมณกถา) ๒๑๐. เรื่องการตรัสรู้ธรรม (ธัมมาภิสมยกถา)
๙๑. เรื่องจิตมีอนาคตเป็นอารมณ์ (อนาคตารัมมณกถา) ๒๑๑. เรื่อง ๓ ประเภท (ติสโสปิกถา)
๙๒. เรื่องจิตมีความตรึกติดตาม (วิตักกานุปติกถา) ๒๑๒. เรื่องอัพยากฤต (อัพยากตกถา)
๙๓. เรื่องการแผ่ออกแห่งความตรึกเป็นเสียง ๒๑๓. เรื่องตวามเป็นปัจจัยเพราะส้องเสพ (อาเสวนปัจจยตากถา)
๙๔. เรื่องวาจาไม่เป็นไปตามจิต ๒๑๔. เรื่องชั่วขณะ (ขณิกกถา)
๙๕. เรื่องการกระทำทางกายไม่เป็นไปตามจิต ๒๑๕. เรื่องความประสงค์อันเดียวกัน (เอกาธิปปายกถา)
๙๖. เรื่องอดีต อนาคต ปัจจุบัน (อดีตานาคตปัจจุปปันนกถา) ๒๑๖. เรื่องเพศของพระอรหันต์ (อรหันตวัณณกถา)
๙๗. เรื่องความดับ (นิโรธกถา) ๒๑๗. เรื่องการบันดาลตามความใคร่ของผู้เป็นใหญ่
๙๘. เรื่องรูปเป็นมรรค (รูปัง มัคโคติกถา) ๒๑๘. เรื่องสิ่งที่เป็นราคะเทียม เป็นต้น (ราคปฏิรูปกาทิกถา)
๙๙. เรื่องผู้ประกอบพร้อมด้วยวิญญาณ๕มีการเจริญมรรค ๒๑๙. เรื่องสิ่งที่ไม่สำเร็จรูป (อปรินิปผันนกถา)
๑๐๐. เรื่องวิญญาณ ๕ เป็นกุศลก็มี
๑๐๑. เรื่องวิญญาณ ๕ คิดคำนึงได้
๑๐๒. เรื่องบุคคลประกอบด้วยศีล ๒ อย่าง
๑๐๓. เรื่องศีลไม่เป็นเจตสิก (สีลัง อเจตสิกันติกถา)
๑๐๔. เรื่องศีลไม่เป็นไปตามจิต
๑๐๕. เรื่องศีลมีการสมาทานเป็นเหตุ
๑๐๖. เรื่องวิญญัติเป็นศีล (วิญญัตติ สีลันติกถา)
๑๐๗. เรื่องอวิญญัติเป็นทุศีล
๑๐๘. เรื่องแม้ธรรม ๓ อย่างก็เป็นอนุสัย
๑๐๙. เรื่องญาณความรู้ (ญาณกถา)
๑๑๐. เรื่องญาณเป็นจิตตวิปปยุต (ญาณัง จิตตวิปปยุตตันติกถากถา)
๑๑๑. เรื่องการเปล่งวาจาว่า นี้ทุกข์ (อิทัง ทุกขันติกถา)
๑๑๒. เรื่องกำลังฤทธิ์ (อิทธิพลกถา)
๑๑๓. เรื่องสมาธิ (สมาธิกถา)
๑๑๔. เรื่องความตั้งอยู่แห่งธรรม (ธัมมัฏฐิตตากถา)
๑๑๕. เรื่องความเป็นของไม่เที่ยง (อนิจจตากถา)
๑๑๖. เรื่องความสำรวมเป็นการกระทำ (สังวโร กัมมันติกถา)
๑๑๗. เรื่องการกระทำ (กัมมกถา)
๑๑๘. เรื่องเสียงเป็นผล (สัทโท วิปาโกติกถา)
๑๑๙. เรื่องอายตนะ๖ (สฬายตนกถา)
๑๒๐. เรื่องบุคคลผู้เกิด๗ครั้งเป็นอย่างยิ่ง (สัตตักขัตตุปรมกถา)

บทนำ   ความรู้เรื่องพระไตรปิฎก  เอกสารทางประวัติศาสตร์   ข้อความน่ารู้จากพระไตรปิฎก   พระวินัยปิฎก  

พระสุตตันตปิฎก   พระอภิธรรมปิฎก   พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม   ชาดก  คำค้นหาพระไตรปิฎก  ธรรมปฏิบัติ